Email: admin@banthihospital.org  | Call: : 053-984325-6 Fax.104 | Country : THAI  

ตัวชี้วัดโรงพยาบาลบ้านธิ



IV-1 ผลด้านการดูแลสุขภาพ

   (1) ตัวชี้วัดสำคัญด้านการดูแลผู้ป่วย

83 ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยโดยรวม[IV-1, III] **(การเสียชีวิต การส่งต่อ การกลับมารักษาหรือการนอน รพ.ซ้ำ) ที่สะท้อนคุณภาพการดูแลรักษา
จำนวนการเสียชีวิตรวมในโรงพยาบาล

ร้อยละผู้ป่วย re-visit ER ภายใน 48 ชม. หลังจำหน่าย

ร้อยละผู้ป่วย re-admit ภายใน 28 วันโดยไม่ได้วางแผน

ร้อยละของผู้ป่วยที่ admit แล้ว refer ใน 2 ชม.
84 ผลลัพธ์ด้านการเข้าถึงบริการสุขภาพ[IV-1, III-1]
Onset to door ในผู้ป่วยโรค MI (3hr.)

Onset to door ในผู้ป่วยโรค stroke (3hr.)

อัตราการเข้าถึงบริการในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า

จำนวนอุบัติการณ์การคัดแยกที่ห้องฉุกเฉินคลาดเคลื่อน (under triage) ทั้งหมด/ระดับ E ขึ้นไป*

จำนวนอุบัติการณ์การคัดแยกที่ห้องฉุกเฉินคลาดเคลื่อน over triage ทั้งหมด/ระดับ E ขึ้นไป*

ร้อยละอุบัติการณ์การระบุตัวผู้ป่วยผิดพลาดทั้งหมด/ระดับ E ขึ้นไป*

จำนวนอุบัติการณ์การวินิจฉัยคลาดเคลื่อน (diagnosis error) ที่มีความรุนแรงระดับE ขึ้นไป*

85 ผลลัพธ์ด้านความต่อเนื่องในการดูแล[IV-1, III-5, 6]
อัตราการขาดยา(Default rate) ในผู้ป่วย TB ตั้งแต่ 2 เดือนขึ้นไป

ร้อยละของผู้ป่วย stroke ที่คะแนน Bathail Index เพิ่มขึ้นมากกว่าหรือเท่ากับ 2 คะแนน หลังได้รับการดูแลต่อเนื่อง

ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานควบคุมโรคได้ (HbA1C<7)

ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมโรคได้

ร้อยละของผู้ป่วยที่ต้องดูแลต่อเนื่องมี care plan

ร้อยละของผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน

ร้อยละของผู้ป่วยที่ต้องดูแลต่อเนื่องมี care plan

(แผลกดทับ ปอดบวม UTI ข้อติด)

ร้อยละของผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว ไม่เกิดการติดเชื้อ

ร้อยละของผู้ป่วย IMC มีคะแนน Bathel Index เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 2 คะแนน
86 ผลลัพธ์ด้านกระบวนการและผลลัพธ์ในการดูแลผู้ป่วยโรคสำคัญ[IV-1, III-2, 3, 4] **(สะท้อนมิติคุณภาพ appropriateness และeffectiveness)
MI : ร้อยละผู้ป่วย STEMI วินิจฉัยผิดพลาด

MI : ร้อยละผู้ป่วย STEMI delay refer

Stroke : Door to refer <30 min

Sepsis : อัตราผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น sepsis แล้ว score 7 ได้รับการส่งต่อ

แม่และเด็ก: อัตราการเกิด Birth Asphyxia (:1000 การเกิดมีชีพ)

แม่และเด็ก: อัตราการเกิด LBW

แม่และเด็ก: อัตราการตกเลือดหลังคลอด

TB: Treatment Success rate (%)

จิตเวช: อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ (ต่อแสนประชากร)

DM: ร้อยละผู้ป่วย DM ที่มีระดับ HbA1C < 7

HT: ร้อยละผู้ป่วย HT ที่ควบคุม BP ได้ต่ำกว่า 140-90 mmHg

CKD : ร้อยละของผู้ป่วยมีอัตราการลดลงของ eGFR < 5 ml/min/1.73 m2/yr (DM+HT)

COPD ร้อยละผู้ป่วย class 4 ได้รับยา spiriva

Re-admit ภายใน 28 วัน ในผู้ป่วย COPD

จำนวน COPD เกิด AE
87 ผลด้านการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วย
ระดับขั้นการพัฒนาผ่านตามเกณฑ์ประเมิน RLU Hospital

ระดับขั้นการพัฒนาผ่านตามเกณฑ์ประเมิน RDU Hospital

ต้นทุนบริการ OPD /ครั้ง

ต้นทุนบริการ IPD /AdjRW
88 ผลด้านความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วยผ่าตัด (S)
อุบัตการณ์การผ่าตัดผิดคน ผิดข้าง ผิดตำแหน่ง ผิดหัตถการ ทั้งหมด/ระดับความรุนแรงระดับ E ขึ้นไป*
89 ผลด้านความปลอดภัยในการควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ (I)
อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล/ 1000 วันนอน รพ.

อัตราการติดเชื้อ CAUTI/1,000 Cath. Days

จำนวนอุบัติการณ์การเกิด Case NI /จำนวนอุบัติการเกิด Case NI ได้รับการทำ RCA
90 ผลระบบบริหารจัดการด้านยา และด้านความปลอดภัยในการใช้ยา/เลือด (M)
     Medication error
OPD: อัตรา prescribing error

          อัตรา dispensing error

          อัตรา administration error

IPD : อัตรา prescribing error

         อัตรา dispensing error

         อัตรา administration error

จำนวนครั้ง ADE ระดับ E ขึ้นไป

จำนวนครั้งอุบัติการณ์แพ้ยาซ้ำ

ร้อยละของการดำเนินงาน Medication Reconciliation ในกลุ่มผู้ป่วยเป้าหมาย

จำนวนครั้งการเกิด ME จากรายการยา HAD

จำนวนครั้งของการให้เลือด ผิดคน ผิดหมู่ ผิดชนิด
91 ผลด้านความปลอดภัยในกระบวนการดูแลผู้ป่วย (P)
อัตราการ Delay/miss diagnosis

อัตราการ Delay/miss diagnosis ใน sepsis

อัตราการเสียชีวิตจาก MI

อัตราการเสียชีวิตในโรงพยาบาลจาก sepsis

อัตราการเสียชีวิตจาก stroke

จำนวนอุบัติการณ์การวินิจฉัยคลาดเคลื่อน (diagnosis error) ที่มีความรุนแรงระดับE ขึ้นไป*

ร้อยละอุบัติการณ์การวินิจฉัยคลาดเคลื่อน (diagnosis error) ที่มีความรุนแรงระดับ E ขึ้นไปที่ได้รับการทบทวนแก้ไข (ทำ RCA)

ร้อยละอุบัติการณ์การระบุตัวผู้ป่วยผิดพลาดทั้งหมด/ระดับ E ขึ้นไป

ร้อยละอุบัติการณ์การระบุตัวผู้ป่วยผิดพลาดระดับ E ขึ้นไปที่ได้รับการทบทวนแก้ไข (ทำ RCA)
92 ผลด้านความปลอดภัยในการใช้ line/tube/catheter และตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับห้องปฏิบัติการ (L)
ร้อยละอุบัติการณ์การตรวจวิเคราะห์และรายงานผลทางห้องปฏิบัติการคลาดเคลื่อนทั้งหมด

ร้อยละอุบัติการณ์การตรวจวิเคราะห์และรายงานผลทางห้องปฏิบัติการคลาดเคลื่อนทั้งหมด/ได้รับการทบทวนแก้ไข (ทำ RCA)

ร้อยละการรายงานค่าวิกฤติไม่ได้รายงานในเวลาที่กำหนด/ได้รับการทบทวนแก้ไข (ทำ RCA)

ร้อยละอุบัติการณ์ที่เกิดในการเฝ้าระวังความปลอดภัยของผู้ป่วยเรื่อง tube, line ,catheter/ได้รับการทบทวนแก้ไข (ทำ RCA)
93 ผลด้านความปลอดภัยในการดูแลภาวะฉุกเฉิน (E)
อุบัติการณ์การคัดแยกที่ห้องฉุกเฉินคลาดเคลื่อน* under triage ทั้งหมด / ระดับ E ขึ้นไป

อุบัติการณ์การคัดแยกที่ห้องฉุกเฉินคลาดเคลื่อน over triage ทั้งหมด

Door to refer ในโรค MI < 120 min

Door to refer ในโรค stroke < 30 min

ร้อยละอุบัติการณ์การคัดแยก Under triage ที่ห้องฉุกเฉินคลาดเคลื่อนระดับ E ขึ้นไป/ทั้งหมด*

ร้อยละอุบัติการณ์การคัดแยก Under triage ที่ห้องฉุกเฉินคลาดเคลื่อนระดับ E ขึ้นไปที่ได้รับการทบทวนแก้ไข (ทำ RCA)*

ร้อยละอุบัติการณ์การคัดแยก Over triage ที่ห้องฉุกเฉินคลาดเคลื่อนระดับ E ขึ้นไป/ทั้งหมด*

ร้อยละอุบัติการณ์การคัดแยก Over triage ที่ห้องฉุกเฉินคลาดเคลื่อนระดับ E ขึ้นไปที่ได้รับการทบทวนแก้ไข (ทำ RCA)*

จำนวนครั้งที่ไฟฟ้าดับต่อระบบสำรองไฟฟ้าพร้อมใช้ตอบสนองภายใน 10 วินาที

   (2) ตัวชี้วัดสำคัญด้านการสร้างเสริมสุขภาพ

94 ผลด้านการสร้างเสริมสุขภาพของผู้รับบริการ
ร้อยละความสำเร็จในการดูแลผู้สูงอายุติดเตียงที่บ้านมีแผลกดทับระดับ 2 ขึ้นไป การหายของแผลเพิ่มขึ้น 1 ระดับ ต่อเนื่อง

ร้อยละของผู้ป่วยติดเตียงที่เปลี่ยนเป็นติดบ้าน ต่อเนื่อง

ร้อยละการได้รับ Vaccine ไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มผู้ป่วยเป้าหมาย

ร้อยละของผู้ป่วยที่มีค่า CVD risk modate ขึ้นไป/ร้อยละการได้รับการจัดการ

จำนวนผู้ป่วย COPD ที่บุหรี่/จำนวนที่เข้ารับการบำบัดคลินิกเลิกบุหรี่

อัตราผู้ป่วยที่เข้ารับการบำบัดเลิกบุรี่สามารถเลิกได้ (จำนวนผู้ป่วยที่รับการบำบัด/จำนวนเลิกได้)

CKD : ร้อยละของผู้ป่วยมีอัตราการลดลงของ eGFR < 5 ml/min/1.73 m2/yr (DM+HT)

ร้อยละของร้านขายยาในร้านชำที่มีการจำหน่าย NSAID เลิกจำหน่าย (จำนวนร้ายที่ขาย/เลิกขาย)

ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีความดันโลหิตควบคุมได้ตามเกณฑ์(<140/90mmHg)

ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี (HbA1C<7mg/dl)

อัตราการเปลี่ยน Class COPD

อัตราการเกิดการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

อัตราการเลิกใช้ยาสมุนไพร และยา NSAID ในผู้ป่วย CKD 3 ขึ้นไป
95 ผลด้านการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน
อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่

อัตราผู้ป่วยโรคความดันรายใหม่

ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกมีอายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์

ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย

ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีภาวะเตี้ย

อัตราการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีไทย อายุ 30-60 ปี 

ร้อยละของประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง

ร้อยละของเด็กปฐมวัยที่มีพัฒนาการล่าช้าเข้าถึงบริการพัฒนาการ และสุขภาพจิตที่ได้มาตรฐาน

ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย

ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีภาวะเตี้ย

อัตราการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีไทย อายุ 30-60 ปี 

ร้อยละของประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง

อัตราการบาดเจ็บจากภาวะพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุที่มีการบาดเจ็บบริเวณสะโพกและต้นขา

ร้อยละของชุมชนมีการดำเนินการจัดการสุขภาพที่เหมาะสมกับประชาชน

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สงสัยพัฒนาการล่าช้าทั้งหมด/ได้รับการติดตาม

IV-2 ผลด้านการมุ่งเน้นผู้ป่วยและผู้รับผลงานอื่น (มิติคนเป็นศูนย์กลาง)

96 ผลด้านความพึงพอใจ/ไม่พึงพอใจ/ความผูกพัน ของผู้ป่วย/ผู้รับผลงานอื่น/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ร้อยละความพึงพอใจโดยรวมผู้ป่วยนอก

ร้อยละความพึงพอใจโดยรวมของผู้ป่วยใน

ร้อยละความพึงพอใจโดยรวมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและชุมชน

IV-3 ผลด้านกำลังคน

97 ผลด้านกำลังคน (IV-3)
ร้อยละหน่วยงานจัดบุคลากรตาม FTE ขั้นต่ำ (sum FTE 17 อาชีพ)

ร้อยละ Turn over rate ของบุคลากรรวม

ร้อยละ Turn over rate บุคลากรด้านสุขภาพ 5 กลุ่ม

จำนวนของบุคลากรที่ป่วย/บาดเจ็บจากการทำงาน

ร้อยละบุคลากรได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี

ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนด

ร้อยละ Happy work life index (HWLI)

ร้อยละความสุขโดยรวม Happy 9

ร้อยละอุบัติการณ์บุคลากรที่ติดเชื้อจากการทำงาน*

ร้อยละอุบัติการณ์บุคลากรที่ติดเชื้อจากการทำงานที่ได้รับการทบทวนแก้ไข (ทำ RCA)*

IV-4 ผลด้านการนำ

98 ผลด้านการนำ (IV-4)
ร้อยละแผนการดำเนินงานผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด

อัตราการรับรู้ทิศทางการนำองค์กรโดยการรับรู้และเข้าใจวิสัยทัศน์ ค่านิยมและผลการดำเนินการ

ร้อยละผลประมวล องค์กรสุขภาวะ (HPI)

ร้อยละความผูกพันองค์กร

ระดับวิกฤตทางการเงิน

สถานะทางการเงิน 7 plus efficiency score

ร้อยละของการประเมินระดับความปลอดภัยของบุคลากรในภาพรวมอยู่ระดับดีเยี่ยมและดีมาก

ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยราชการ: ITA

ชุมชนมีการจัดตั้ง สถานชีวาภิบาล และกุฏิชีวาภิบาล

ร้อยละของชุมชนมีการดำเนินการจัดการสุขภาพที่เหมาะสมกับประชาชน

ประชากรในชุมชนสามารถเข้าถึง Health station ทุกหมู่บ้าน

IV-5 ผลด้านประสิทธิผลของกระบวนการทำงานสำคัญ

99 ผลด้านประสิทธิผลของกระบวนการทำงานสำคัญ เช่น IM, BCM, Supply chain, RM, ENV
ร้อยละการรายงานอุบัติการณ์ทางคลินิก A,B และทั่วไปในระดับ 1,2

จำนวนครั้งอุบัติการณ์ในระดับ E ขึ้นไป และความเสี่ยงทั่วไปในระดับ 4

ร้อยละอุบัติการณ์ทางคลินิกในระดับ E ขึ้นไปและความเสี่ยงทั่วไปในระดับ 4 ได้รับการทำ RCA เสร็จสิ้นภายใน 2 สัปดาห์

อุบัติการณ์การหยุดชะงักของระบบคอมพิวเตอร์ของ รพ. (ระบบ LAN)

อัตราความสมบูรณ์ของเวชระเบียนผู้ป่วยนอก

อัตราความสมบูรณ์ของเวชระเบียนผู้ป่วยใน

ผลการตรวจน้ำเสียผ่านตามเกณฑ์มาตรฐาน

ร้อยละการสอบเทียบเครื่องมือทางการแพทย์ผลผ่าน (%)

IV-6 ผลด้านการเงิน

100 ผลลัพธ์ด้านการเงิน (IV-6)
อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (current ratio)

อัตราส่วนสินทรัพย์คล่องตัว (quick ratio)

ระดับวิกฤตทางการเงิน

สถานะทางการเงิน 7 plus efficiency score


2019 All Rights Reserved | by: Designed by งานยุทธศาสตร์และสารสนเทศทางการแพทย์